ข่าวประชาสัมพันธ์

MedCMU Engagement

2023-09-21T11:21:42+07:00

MedCMU Engagement MedCMU VOICE Engagement Action Plan MedCMU Focus Group MedCMU Happy Organization แนวทางที่แนะนำนั้น ผู้บังคับบัญชาที่มีจำนวนคำตอบเพียงพอเพื่อสามารถดูข้อมูลความผูกพันได้ ซึ่งจะได้ข้อมูลสรุปทั้งแบ่งแยกตามสังกัด และ direct report หัวหน้าควรจะเผยแพร่ ผลการสำรวจความผูกพันให้กับทีม เพื่อหารือปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในที่ทำงาน หัวหน้ามีบทบาทหน้าที่ในการ Facilitate หรืออำนวยความสะดวกในการ เปิดประเด็นหารือระหว่างบุคลากรต่างๆในทีม ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผลสำรวจความผูกพัน และแผนของทีมเพื่อที่จะพัฒนาต่อไป การหารือ พูดคุย หรือประชุมนี้นั้นสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าแผนการปฏิบัติงานในระดับหน้างานอย่างแท้จริง หรือ local-level action planning strategy โดยมีลำดับขั้นตอน ดังนี้ 1.วิเคราะห์ผลสำรวจความผูกพัน 2.ระบุเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของทีม 3.เลือกข้อหรือปัจจัยความผูกพันที่จะมุ่งเน้น และระบุแผนและแนวทางการปฏิบัติ รวมถึงเจ้าของเจ้าภาพที่จะดำเนินการต่อไป 4.ทบทวนและปรับปรุง ทุกคนควรจะมีส่วนร่วมในการประชุม/หารือ/บทสนทนา เกี่ยวกับความผูกพัน ทุกคนในทีมนั้นควรจะช่วยกันสร้าง action plan ขึ้นมา โดยในขณะเดียวกัน Engagement Champion และ หัวหน้าควรจะเป็น ผู้นำในการหารือเรื่องนี้ ซึ่งควรเป็นกระบวนการที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมให้ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะได้ การให้บุคลากรมีส่วนร่วมในกระบวนการนั้นจะเป็นฐานให้แก่ การก้าวไปสู่การสร้างความผูกพัน เพราะเสียงของทุกคนสำคัญต่อองค์กร และร่วมกันตัดสินใจว่า ปัจจัยผูกพันไหนที่จะถูกลำดับความสำคัญก่อน เพื่อที่จะช่วยให้ทีม ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น รายละเอียดการอบรม ประกาศผลลัพธ์คะแนนความผูกพัน และกล่าวถึงที่มาและความสำคัญโครงการฯ โดย คณบดีคณะแพทยศาสตร์ ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ) นพ.บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน์ บรรยายหัวข้อ “ENGAGEMENT ACTION PLAN” [...]

MedCMU Engagement2023-09-21T11:21:42+07:00

“Non-Technical Skills” ครั้งที่ 3 ประจำปี 2565 สำหรับอาจารย์ แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพสุขภาพ และบุคลากรสังกัดคณะฯ

2022-11-10T11:29:42+07:00

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ศูนย์บริหารกลยุทธ์ และพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ มช. (ศูนย์มีดี MeDHRI) ดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Non-Technical Skills” ครั้งที่ 3 ประจำปี 2565 สำหรับอาจารย์ แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพสุขภาพ และบุคลากรสังกัดคณะฯ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ณ ห้องประชุม 1508 ชั้น 15 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. […]

“Non-Technical Skills” ครั้งที่ 3 ประจำปี 2565 สำหรับอาจารย์ แพทย์ และสหสาขาวิชาชีพสุขภาพ และบุคลากรสังกัดคณะฯ2022-11-10T11:29:42+07:00

โครงการสำรวจความผูกพันของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มช. ปี 2565

2023-09-18T15:02:32+07:00

MedCMU Engagement MedCMU VOICE Engagement Action Plan MedCMU Focus Group MedCMU Happy Organization แนวทางที่แนะนำนั้น ผู้บังคับบัญชาที่มีจำนวนคำตอบเพียงพอเพื่อสามารถดูข้อมูลความผูกพันได้ ซึ่งจะได้ข้อมูลสรุปทั้งแบ่งแยกตามสังกัด และ direct report หัวหน้าควรจะเผยแพร่ ผลการสำรวจความผูกพันให้กับทีม เพื่อหารือปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในที่ทำงาน หัวหน้ามีบทบาทหน้าที่ในการ Facilitate หรืออำนวยความสะดวกในการ เปิดประเด็นหารือระหว่างบุคลากรต่างๆในทีม ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผลสำรวจความผูกพัน และแผนของทีมเพื่อที่จะพัฒนาต่อไป การหารือ พูดคุย หรือประชุมนี้นั้นสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าแผนการปฏิบัติงานในระดับหน้างานอย่างแท้จริง หรือ local-level action planning strategy โดยมีลำดับขั้นตอน ดังนี้ 1.วิเคราะห์ผลสำรวจความผูกพัน 2.ระบุเป้าหมายผลการปฏิบัติงานของทีม 3.เลือกข้อหรือปัจจัยความผูกพันที่จะมุ่งเน้น และระบุแผนและแนวทางการปฏิบัติ รวมถึงเจ้าของเจ้าภาพที่จะดำเนินการต่อไป 4.ทบทวนและปรับปรุง ทุกคนควรจะมีส่วนร่วมในการประชุม/หารือ/บทสนทนา เกี่ยวกับความผูกพัน ทุกคนในทีมนั้นควรจะช่วยกันสร้าง action plan ขึ้นมา โดยในขณะเดียวกัน Engagement Champion และ หัวหน้าควรจะเป็น ผู้นำในการหารือเรื่องนี้ ซึ่งควรเป็นกระบวนการที่ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมให้ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะได้ การให้บุคลากรมีส่วนร่วมในกระบวนการนั้นจะเป็นฐานให้แก่ การก้าวไปสู่การสร้างความผูกพัน เพราะเสียงของทุกคนสำคัญต่อองค์กร และร่วมกันตัดสินใจว่า ปัจจัยผูกพันไหนที่จะถูกลำดับความสำคัญก่อน เพื่อที่จะช่วยให้ทีม ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น รายละเอียดการอบรม ประกาศผลลัพธ์คะแนนความผูกพัน และกล่าวถึงที่มาและความสำคัญโครงการฯ โดย คณบดีคณะแพทยศาสตร์ ศ.(เชี่ยวชาญพิเศษ) นพ.บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน์ บรรยายหัวข้อ “ENGAGEMENT ACTION PLAN” Engagement Talk [...]

โครงการสำรวจความผูกพันของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มช. ปี 25652023-09-18T15:02:32+07:00

พิธีเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior ครั้งที่ 4

2022-03-30T09:15:10+07:00

วันที่ 27 มีนาคม 2565 ภาพ / ข่าว : กลุ่มงานสื่อสารองค์กร งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผศ.นพ.นเรนทร์ โชติรสนิรมิต ผู้อำนวยการ​โรงพยาบาล​มหาราช​นคร​เชียงใหม่​ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior เป็นการดำเนินการตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ M modernized workforce […]

พิธีเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior ครั้งที่ 42022-03-30T09:15:10+07:00

อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบฐานข้อมูลบุคลากรนอกสังกัดคณะฯ

2022-03-21T10:37:43+07:00

วันที่ 18 มีนาคม 2565 ภาพ / ข่าว : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายวิฑูรย์ มหาวัน หัวหน้างานบริหารงานบุคคล เป็นประธานในพิธีเปิด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบฐานข้อมูลบุคลากรนอกสังกัดคณะฯ […]

อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบฐานข้อมูลบุคลากรนอกสังกัดคณะฯ2022-03-21T10:37:43+07:00

เชิญบุคลากรคณะฯ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior “การบริการที่เป็นเลิศสู่การเป็นโรงพยาบาลในดวงใจ”

2022-03-16T09:54:25+07:00

วันที่ 16 มีนาคม 2565 งานบริหารงานบุคคล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับสมัคร บุคลากรคณะฯเข้าร่วมโครงการฯ วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อให้ความรู้เรื่อง Excellent service mind แก่บุคลากรภายในคณะฯ ทุกระดับ เพื่อพัฒนาเทคนิคการทำงานด้านการบริการด้วยการบริการที่เป็นเลิศในระดับสากล เพื่อสร้าง Excellent service Champion and Potential Trainer ภายในคณะฯ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนออนไลน์ที่ https://w1.med.cmu.ac.th/medhri/courses/service-excellent/

เชิญบุคลากรคณะฯ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Excellent Service Behavior “การบริการที่เป็นเลิศสู่การเป็นโรงพยาบาลในดวงใจ”2022-03-16T09:54:25+07:00
Go to Top